คุณวุฒิ
ศศ. บ. (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
อ.ม. (ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

B.A. (History) Srinakharinwirot University Patumwan
M.A. (History) Chulalongkorn University

แขนงวิชาที่สนใจ
ประวัติศาสตร์-อารยธรรมไทย
ประวัติศาสตร์-อารยธรรมโลก(ตะวันตก-ตะวันออก)
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น-ภูมิปัญญาไทย
ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อการท่องเที่ยว

หัวข้อวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์
แนวคิดและบทบาททางการเมืองของนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ส.ส.อุบลราชธานี (พ.ศ. 2476-2492)

ประวัติการทำงาน
อาจารย์ประจำภาควิชามนุษยศาสตร์  คณะศิลปศาสตร์ พ.ค.2534-ปัจจุบัน  

รายวิชาที่รับผิดชอบ (2562-ปัจจุบัน)
1.RSU111 สังคมธรรมาธิปไตย
2.RSU143 ปทุมธานีศึกษา
3.RSU144 คนต้นแบบ
4.RSU147 ความเป็นไทย
5.RSU128 ไทยมองเทศ เทศมองไทย
6.HUM114 ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย

งานวิจัย
1. โครงการหอเกียรติคุณนายกรัฐมนตรี (นายทวี บุณยเกตุ และนายอานันท์ ปันยารชุน)
สำนัก นายกรัฐมนตรี ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยศิลปากร(พ.ศ. 2553-2554) (2 เรื่อง)

2. งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนเรื่อง “การพัฒนาวิธีการสอนและการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตที่เรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย
(HUM114)” ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต (พ.ศ.2547-2559)

บทความวิจัย
1. การพัฒนาวิธีการสอนและการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตที่เรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย(HUM114). วารสารการบริหารท้องถิ่น 11,4(ต.ค.-ธ.ค. 2561): 63-79.

2. ความเป็นผู้นำ: ศึกษากรณี นายอานันท์ ปันยารชุน. วารสารมนุษยศาสตร์ละสังคมศาสตร์ 14,1
(ก.ค.-ธ.ค. 2561): 9-30.

บทความวิชาการ


1. บทความเรื่อง “แนวคิดและบทบาทของนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ พ.ศ.2476-2492”
มีการปรับปรุงแก้ไขและตีพิมพ์ในหนังสือรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง เรียงตามลำดับดังนี้

- จารุวรรณ ธรรมวัตร (บรรณาธิการ). (2543). คือผู้อภิวัฒน์... ถึงรัฐมนตรีอีสาน ถึงกวี พื้นบ้าน คือ
อุดมการณ์ประชาธิปไตย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 49-76.

- จรัล โฆษณานันท์ (บรรณาธิการ). (2543). วิถีสังคมไท สรรนิพนธ์ทางวิชาการเนื่องในวาระหนึ่ง
ศตวรรษ ปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ. คณะกรรมการดำเนินงานฉลอง 100 ปีชาตกาล นายปรีดี พนม
ยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ภาคเอกชน. 655-675.

- สันติสุข โสภณศิริ (บรรณาธิการ). (2544). วิถีสังคมไท สรรนิพนธ์ทางวิชาการเนื่องในวาระหนึ่ง
ศตวรรษ ปรีดี พนมยงค์. (ชุดที่ 8) คณะกรรมการดำเนินงานฉลอง 100 ปีชาตกาล นายปรีดี พนม
ยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ภาคเอกชน. 33-122.

- ชาญวิทย์ เกษตรศิริและธำรงศักดิ์ เพชรเลิสอนันต์(บรรณาธิการ). (2544). ปรีดี พนมยงค์และ 4
รัฐมนตรีอีสาน + 1. กรุงเทพฯ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 27-99.

2. เจิ้งเหอ ซำปอกง และอุษาคเนย์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 5,9 (2551): 5-45.

3. อัตตชีวประวัติกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรในบริบทของประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 8,14 (ม.ค-มิ.ย. 2556): 151-163.

4. นายทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรี 17 วัน : เพื่อชาติ เพื่อประชาธิปไตย. วารสารศิลปวัฒนธรรม
39,10(ส.ค. 2561): 122-145.

5. ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นรังสิต: สำรวจพรมแดนแห่งความรู้. วารสารมนุษยศาสตร์ละสังคมศาสตร์ 14,2
(ม.ค.-มิ.ย. 2562): 127-134.

งานเขียนอื่นๆ
- สืบแสง พรหมบุญและคณะ.(2522). รายงานการวิจัยเรื่อง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่ง
ตะวันตก: กรณีศึกษาลุ่มแม่น้ำจรเข้สามพัน โดย สืบแสง พรหมบุญและคณะ. สถาบันไทยคดีศึกษา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พ.ศ. 2530. บรรณาธิการโดย ชลาศัย กันมินทร์ ปรารถนา โกเมน และ
พีรยา มหากิตติคุณ. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต.

การบริการวิชาการ
1. วิทยากรบรรยายให้แก่ สถาบันรัชต์ภาคย์, วิทยาลัยเซาธ์อิสต์บางกอก, มหาวิทยาลัยธนบุรี และวิทยาลัยเทคโนโลยีพัทยาพาณิชยการ พัทยา-นาเกลือ:PBAC) ในรายวิชาตามหลักสูตรต่างๆ ดังนี้ (2559-ปัจจุบัน)
-หลักสูตรผู้นำเที่ยว 2 วิชา คือ วิชาอารยธรรมตะวันตก และ วิชาอารยธรรมตะวันออก
-หลักสูตรมัคคุเทศก์ทั่วไป(ต่างประเทศ) 7 วิชา คือ วิชาประวัติศาสตร์ไทยเพื่อการท่องเที่ยว,
วิชาวัฒนธรรมไทย, วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย, วิชาวัฒนธรรม เทศกาลและงานประเพณีไทย,
วิชาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวรรณกรรมท้องถิ่น(ภาคกลาง), วิชาโบราณคดีไทยเพื่อการท่องเที่ยว,
วิชาศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น(ภาคกลาง)

2. วิทยากรโครงการเสวนาทางวิชาการเรื่อง “ถอดเกร็ดประวัติศาสตร์ผ่านละคร ‘บุพเพสันนิวาส’ ” จัดโดย
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (2560)

3. วิทยากรในการเสวนาให้ความรู้ผ่านคลิปวิดีโอเรื่อง “ประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่ 2
กับวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ‘เด็กชายในชุดนอนลายทาง” จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิต(2562)