คุณวุฒิ
วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
อ.ม. (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง) วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต

ตำแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสคราจารย์ สาขาวิชาปรัชญา พ.ศ.2540

วิชาที่สนใจ
ปรัชญาทั่วไป จริยศาสตร์ ญาณวิทยา ปรัชญาการศึกษา ปรัชญาวิทยาศาสตร์ ปรัชญาสังคม ปรัชญาการเมือง ปรัชญาเทคโนโลยี ญาณวิทยาสังคม จริยศาสตร์ธุรกิจ จริยศาสตร์วิชาชีพ

ตำแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสคราจารย์ สาขาวิชาปรัชญา 2540

ประวัติการทำงาน

วิทยาลัยแสงธรรม พ.ศ.2529
ภาควิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยรังสิตภาควิชามนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยรังสิต
พ.ศ.2529-พ.ศ.2533
ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2537-ปัจจุบัน

ประวัติการทำงานด้านบริหาร
-รองคณบดีฝ่ายวิชาการ (ลาศึกษาต่อ รับทุนกาญจนาภิเษกที่สาขาวิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์
 4จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำวิจัยเรื่อง ชีวิตที่ดีในสังคมเทคโนโลยี 2542-2544
-กรรมการบริหาร สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย 2545-2547
-กรรมการบริหาร สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย 2547-2549
-หัวหน้าภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 2548-2557
-อุปนายก สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย 2549-2551
-กรรมการบริหาร สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย 2555-2558

ความเชี่ยวชาญ (จริยศาสตร์ จริยศาสตร์ธุรกิจ จริยศาสตร์วิชาชีพ)
-โครงการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการ สำนักงานข้าราชการพลเรือน (กพ.)
  พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
-ผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินโครงร่างวิทยานิพนธ์ซึ่งสมควรได้รับทุนมหาบัณฑิต สกว. ด้านปรัชญา ตุลาคม 2556
-ความเชี่ยวชาญ (จริยศาสตร์ จริยศาสตร์ธุรกิจ จริยศาสตร์วิชาชีพ)
-โครงการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการ สำนักงานข้าราชการพลเรือน (กพ.)  พฤศจิกายน
  พ.ศ. 2554
-ผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินโครงร่างวิทยานิพนธ์ซึ่งสมควรได้รับทุนมหาบัณฑิต สกว. ด้านปรัชญา ตุลาคม2556
-ผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ข้อเสนอแนะต่อนักศึกษาผู้รับทุนมหาบัณฑิต สกว. ด้านปรัชญา ตุลาคม 2556-2559

อาจารย์พิเศษ
-ปรัชญาวิทยาศาสตร์ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
-ปรัชญาประวัติศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
-ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
-ตรรกวิทยาสัญลักษณ์ คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
-ญาณวิทยา ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
-จริยธรรมธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ชลบุรี
-ปรัชญาศาสนา สถาบันธรรมกาย วัดธรรมกาย ปทุมธานี
-จริยศาสตร์ สถาบันธรรมกาย วัดธรรมกาย ปทุมธานี
-ตรรกวิทยา โครงการรัสเซียศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ
-สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยสมัยใหม่. กรุงเทพฯ:  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2534
-ตรรกวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2534
-ตรรกวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก. 2534
-จริยศาสตร์: ทฤษฎีและการวิเคราะห์ปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ. บริษัท Mild Publishing.2540
-ประธานคณะทำงานจัดทำแนวทางการสร้างหลักสูตรและรายวิชาใหม่ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
 ในคณะทำงานจัดทำแนวทางการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา
 สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ตามคำสั่งแต่งตั้งที่ 8/2542 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2542
-คณะทำงานจัดทำแนวทางการพัฒนาคุณธรรม/จริยธรรมในมิติแห่งคริสต์ศาสนา 2544
 สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ตามคำสั่งแต่งตั้งที่136.1/2544
 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2544

บทความทางวิชาการ
-บทวิจารณ์หนังสือ “จากความอับจนของลัทธิมาร์กซ์ถึงปีศาจวิทยาของการเปลี่ยนแปลงของ ปรดี บุญซื่อ.”
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-พฤศจิกายน ๒๕๒๕) น.๑๐๗-๑๒๐.

- “แนววิเคราะห์สังคมไทย: จากอดีต-ปัจจุบัน.” วารสารสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ ๖
(เมษายน-กันยายน ๒๕๒๕) น. ๑๐๖-๑๓๒, ๒๕๒๕.

- (ร่วมกับ อ.ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ) “บททดลองเสนอทฤษฎีว่าด้วยสังคมนิยม.” วารสารธรรมศาสตร์.
ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๒ (มิถุนายน ๒๕๒๖) น. ๑๐-๒๐.

- “บททดลองเสนอว่าด้วยความคิดทางจริยศาสตร์ของอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์.” วารสารธรรมศาสตร์.
ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๑ (มีนาคม ๒๕๒๗) น.๑๘๐-๑๙๗.

- “เจตนารมณ์ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ และการวิเคราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์.” วารสารธรรมศาสตร์. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๔ ๒๕๒๗.

- “บทวิจารณ์ทฤษฎีประวัติศาสตร์แนวปัจเจกชนวินิจฉัย.” รวมบทความประวัติศาสตร์. (สมาคมประวัติศาสตร์ฯ)
ฉบับที่ ๖, ๒๕๒๗, น. ๓๐-๔๘,

- บทความปริทัศน์เรื่อง “การศึกษาปรัชญาประวัติศาสตร์.“ วารสารธรรมศาสตร์. ปีที่ ๑๔ (มีนาคม ๒๕๒๘)
น. ๑๖๖-๑๘๓.

- “ศาสนาคริสต์ในสังคมไทย.” ใน ความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย. นนทบุรี:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิ-ราช, พิมพ์ครั้งที่ ๒, ๒๕๓๕. น. ๓๙๗–๔๕๕.

- “ความเรียงว่าด้วยปรัชญา.” วารสารแสงธรรมปริทัศน์. ปีที่ ๑๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๓๗)
น. ๓๒-๔๒.

- “ปอปเปอร์มองปรัชญาอย่างไร.” วารสารธรรมศาสตร์. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๓๗)
น. ๑๐๔-๑๑๓.

- “พัฒนาการจริยธรรมในสังคมไทย.” สังคมศาสตร์ปริทัศน์. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๓๘)
น. ๗๗-๘๔.

- “ธรรมชาติของการผิดจริยธรรม.” วารสารแสงธรรมปริทัศน์. ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๓๘)
น. ๑๒๒-๑๔๒.

- การรื้อปรับระบบงาน (re-engineering): ทางออกที่เป็นไปได้และควรจะเป็นจริงหรือ?
เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง “การรื้อปรับระบบแนวคิดรีเอ็นจิเนียริ่งในสังคมไทย”
จัดโดยมหาวิทยาลัยเกริกและสถาบันพัฒนาและฝึกอบรมผู้สื่อข่าว (หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ)
วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๓๘ ณ ห้องควีนส์ปาร์ค ๒ โรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค กรุงเทพฯ

- “ปัญหา สาเหตุ และความผิดของการข่มขืนกระทำชำเรา.” บทความเสนอในการประชุมวิชาการทางปรัชญา
ชมรมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ณ ห้อง ๗๐๗ อาคารบรมราชกุมารี ชั้น ๗ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๒๕๓๘.

- “จริยศาสตร์ธุรกิจ: ความหมายและความจำเป็น.” บทความเสนอในการประชุมวิชาการทางปรัชญา
ชมรมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย วันที่ ๙–๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๐ ณ ห้องประชุม Auditorium
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.

- “จริยศาสตร์ธุรกิจแนวใหม.่” ในการสัมมนาทางวิชาการประจำปี ของมหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ ๒๑ - ๒๒
มกราคม ๒๕๔๒.

“ปัญหาในการสอนจริยธรรม.” ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์และประนอม รอดดำดี (บรรณาธิการ) ความรู้คู่คุณธรรม:
รวมบทความเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมและการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
พิมพ์ครั้งที่ ๒, ๒๕๔๒.

- “ทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสียทางธุรกิจ: จุดกำเนิดแห่งจริยศาสตร์ธุรกิจเพื่อมหาชน.” บทความเสนอในการประชุม
ทางวิชาการ ชมรมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๒๑–๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๒ ณ
คณะศาสนศาสตร์แมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ๒๕๔๓. (๗๖ หน้า)

- “หลักในการสร้างหลักสูตรเพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีจิตสำนึกในการสร้างสรรค์สังคม” นำเสนอในการเป็นวิทยากร
นำการเสวนาเรื่อง “กลยุทธในการสอนปรัชญาและศาสนา” บทความเสนอในการประชุมทางวิชาการ
ชมรมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๒๑–๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๒ ณ คณะศาสนศาสตร์แมคกิลวารี
มหาวิทยาลัยพายัพ ๒๕๔๓. (๒๒ หน้า)

“การวิวาทะในสังคมประชาธิปไตย.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑
(มกราคม-เมษายน ๒๕๔๓) นน. ๓-๑๕.

“ความยุติธรรม: คุณธรรมหลักในการสอนจริยธรรม.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยรังสิต
ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๔๓) นน. ๑๑-๒๖.

- “สิ่งในตนเอง.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๔ (มกราคม-เมษายน
๒๕๔๔) นน. ๕๑-๗๓.

- “การใช้ยาเสพติดเพื่อการผ่อนคลาย: ‘ใครว่าข้าชั่ว’ บทท้าทายวิจารณญาณของปัญญาชนผู้ไม่ประสงค์ถูก
‘จัดระเบียบทางสังคม’” บทความเสนอในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ศาสนาและปรัชญาในวิกฤติสังคมไทย
จัดโดย หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ และสาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย
วันที่ ๒๕–๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ บางพลัด กรุงเทพฯ (๙ หน้า)

- “แนวคิดทางจริยศาสตร์ของเฮเกล.” รวมบทความและรายงานพิเศษศาสนาและปรัชญา. ปกรณ์
สิงห์สุริยาและคณะ (บรรณาธิการ) ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล ตุลาคม ๒๕๔๕. (http://www.geocities.com/religion_philosophy/Hegel.PDF)

- “จริยศาสตร์สตรีนิยม: จากจริยศาสตร์ว่าด้วยความยุติธรรมสู่จริยศาสตร์ว่าด้วยความใส่ใจ.” วารสารสังคมศาสตร์.
(คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ปีที่ ๓๔ ฉบับที่ ๒ (ก.ค. – ธ.ค. ๒๕๔๖) นน. ๒๐๓-๒๓๔.

- “Rethinking ‘Electronic Global Village or McWorld? By Charles Ess.” วารสารมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๗ (ปีการศึกษา ๒๕๔๖) นน. ๒๙-๔๖.

“จริยศาสตร์ว่าด้วยคุณธรรม: ข้อจำกัดในการเป็นทฤษฎีจริยศาสตร์ที่สมบูรณ์.” วารสารสังคมศาสตร์.
(คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ปีที่ ๓๕ ฉบับที่ ๑ (ม.ค. – มิ.ย. ๒๕๔๗) นน. ๓๐๔-๓๒๕.

“จริยศาสตร์เพศสัมพันธ์: บททดลองเสนอเพื่อใช้เป็นกรอบประเมินพฤติกรรมทางเพศ.” เอกสารประกอบการประชุม
สัมมนาทางวิชาการ ประจำปี๒๕๔๘ สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทยเรื่อง ชีวิตและชีวิตที่ดีวันที่ ๒๐-
๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๘ ณ ห้องประชุมพิบูลย์สงคราม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บางแสน ชลบุรี.

- “เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลแบบต่อสาย: การขยายโอกาสทางการศึกษาหรือโอกาสทางธุรกิจ.”
เอกสารประกอบการอบรมทางวิชาการ ประจำปี ๒๕๔๙ ของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทยเรื่อง
รอลส์ คูห์น ฟีนเบิร์ก : ความยุติธรรม ความรู้ เทคโนโลยี วันที่ ๑๔-๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ณ
ระยองบีชคอนโดเทล หาดแม่รำพึง จังหวัดระยอง.

- “ปรัชญาเทคโนโลยีของแอนดรูว์ ฟีนเบิร์ก: ทฤษฎีแนววิพากษ์.” เอกสารประกอบการอบรมทางวิชาการ
ประจำปี ๒๕๔๙ ของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทยเรื่อง รอลส์ คูห์น ฟีนเบิร์ก : ความยุติธรรม
ความรู้ เทคโนโลยี วันที่ ๑๔-๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ณ ระยองบีชคอนโดเทล หาดแม่รำพึง จังหวัดระยอง.

- “ทฤษฎีเหตุผลเชิงจริยธรรมของโคลเบิร์ก: มุมมองใหม่ของการพัฒนาจริยธรรม.” วารสารมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๑ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๔) นน. ๔๒-๗๑.

- “การใช้ศีรษะเดินต่างเท้าของการศึกษาไทย.” เอกสารประกอบการสัมมนาประจำปีครั้งที่ ๑๘
สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ร่วมกับภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ วันที่ ๑๗-๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

- “การศึกษาแนวเน้นพัฒนาการ: สู่การเรียนรู้ที่แท้จริง.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑๔ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๖) นน. ๒๔-๔๗.

- “ปัญหาและทางออกของการศึกษาไทย.” การประชุมทางวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๒ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖
นวัตกรรมสังคมกับการพัฒนาประเทศไทย วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ ห้องออดิทอเรียม
อาคารรัตนคุณากร มหาวิทยาลัยรังสิต

“บทอภิปรายบทความของกฤตภาค ศักดิษฐานนท์ เรื่อง ‘ปัจเจกบุคคลร่วมในสังคมการเมืองกับบทบาท
ของเสียงข้างมากในทฤษฎีพันธสัญญาของจอห์น ล็อค.’ วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย.
ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ (กันยายน ๒๕๕๗) นน.๙๘-๑๐๕.

- "การรื้อสร้างการศึกษา: วาทกรรมแห่งอำนาจ." เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ เรื่อง
“นวัตกรรมสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย ๓๖๐ องศา” วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ ห้อง ๑๕-๒๒๖ ห้องเธียเตอร์ อาคารมัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยรังสิต เมืองเอก ปทุมธานี โดย วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม

- “การรื้อสร้าง ‘ครู’.” บทความวิชาการนำเสนอในงรนสัมมนา และประชุมประจำปี สมาคมปรัชญาและศาสนา
แห่งประเทศไทย ร่วมกับภาควิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลับบูรพา หัวข้อ “ความยุติธรรม: มองไทย
มองโลก.” วันที่ 23-24 ธันวาคม 2559 ณ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี

- “วงศาวิทยาของการศึกษาไทย.” วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย. ปีที่ 12
ฉบับที่ 1 หน้า 109-163.

- “การศึกษาใหม่: นวัตกรรมการศึกษาที่พลิกผันด้วยการปฏิวัติดิจิทัล.” วารสารสมาคมปรัชญา
และศาสนาแห่งประเทศไทย. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 20-66.

งานวิจัย
-การประเมินบทบาทของเทคโนโลยีการสื่อสารในการเรียนการสอน: มุมมองจากปรัชญาการศึกษา. ตีพิมพ์ใน
ปรัชญาในสังคมไทย. (ชัชชัย คุ้มทวีพร., ผศ. หัวหน้ากองบรรณาธิการ) โครงการส่งเสริมการวิจัยปรัชญา
และศาสนาสัญจร ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กรุงเทพฯ ๒๕๔๙.

- “ทฤษฎีจิตวิทยาเชิงจริยธรรม: ทฤษฎีเหตุผลเชิงจริยธรรมของโคลเบิร์ก.” ในรายงานข้อเสนอความ
เป็นไปได้และแนวทางการขับเคลื่อนกลไกเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในศูนย์การเรียนรู้
จริยธรรมแนวใหม่ โครงการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนงานด้านคุณธรรม จริยธรรม:
ศึกษารูปแบบเนื้อหาและแนวทางความเป็นไปได้ในการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้จริยธรรมแนวใหม่
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการสนับสนุนจาก
สำนักงานข้าราชการพลเรือน (กพ.) นน. ๒๒-๖๐.

-รายงานการวิจัยเรื่อง การปฏิวัติดิจิทัลกับการศึกษา: ผลกระทบ ข้อเสนอแนะ และการประยุกต์.
ศึกษาการศึกษารูปแบบใหม่ และผลที่ได้รับจากการนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาจริยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิต (อยู่ระหว่างแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ)

- โครงการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบของชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ร่วมกับคณะวิจัย (ศ.ดร.อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ รศ.ดร. ประภาส
ปิ่นตกแต่ง รศ.ดร. ชัยยนต์ ประดิษฐ์ศิลป์) อยู่ระหว่างดำเนินการวิจัย

วิทยากร
๑. โครงการฝึกอบรม “ครู/อาจารย์เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย รุ่นที่ ๒”
ระหว่างวันที่ ๓๑ สค. - ๔ กย. ๒๕๔๑ ณ ห้องภาณุมาศ โรงแรมรอยัลริเวอร์ บางพลัด กรุงเทพฯ
จำนวนผู้เข้าร่วม ๒๘๐ คน

๒. โครงการฝึกอบรม “ครู/อาจารย์เพื่อพัฒนานักเรียนอุดมคติไทย”
ระหว่างวันที่ ๑๗ พย. - ๒๑ พย. ๒๕๔๑ ณ ห้องประชุมโรงเรียนจักรคำคณาธร อ.เมือง ลำพูน
จำนวนผู้เข้าร่วม ๑๒๐ คน

๓. โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “รูปแบบและกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย” ระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๘ ธค. ๒๕๔๑
ณ ห้องประชุมโรงแรมเมอร์เคียวร์ พัทยา ชลบุรีจำนวนผู้เข้าร่วม ๓๘๕ คน

๔. โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “รูปแบบและกิจกรรมการปลูกฝังคุณธรรม/จริยธรรมในโรงเรียน”
ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๒ มีค. ๒๕๔๒ ณ หอประชุมโรงเรียนเมธีวุฒิกร อำเภอเมือง ลำพูน
จำนวนผู้เข้าร่วม ๑๒๐ คน

๕. โครงการประชุมระดับชาติเรื่อง “บัณฑิตไทยในอุดมคติไทย ครั้งที่ ๓“ระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๑ พค. ๒๕๔๒
ห้องประชุมใหญ่ อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี ซอยศูนย์วิจัย เพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพมหานคร จำนวนผู้เข้าร่วม
๑,๐๐๐ คน

๖. โครงการฝึกอบรมครู/อาจารย์เพื่อพัฒนา “บัณฑิตอุดมคติไทย รุ่นที่ ๓” (ส่วนภูมิภาคเขตภาคเหนือ)
ระหว่างวันที่ ๒๒-๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ณ ห้องแกรมด์บอลรูม โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์ อ.เมือง เชียงใหม่
จำนวนผู้เข้าร่วม ๑๖๐ คน

๗. โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “รูปแบบและกิจกรรมการเสริมสร้างคุณธรรม/จริยธรรมในสถาบันการศึกษา”
(ส่วนภูมิภาคเขตภาคเหนือ) ระหว่างวันที่ ๗-๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓ ณ ห้องแกรมด์บอลรูม โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์
อ.เมือง เชียงใหม่จำนวนผู้เข้าร่วม ๑๑๐ คน

๘. โครงการฝึกอบรมครู/อาจารย์เพื่อพัฒนา “บัณฑิตอุดมคติไทย รุ่นที่ ๓” (ส่วนภูมิภาคเขตภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ)ระหว่างวันที่ ๖-๙ มีนาคม ๒๕๔๓ ณ ห้องประชุมโรงแรมเจริญธานีปริ้นเซส อ.เมือง ขอนแก่น
จำนวนผู้เข้าร่วม ๑๖๐ คน

๙. การเสวนาหัวข้อเรื่อง "พัฒนาศักยภาพในเชิงจริยธรรมของนักศึกษา" จัดโดยคณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิต วันที่ ๑๐ พฤษภคม ๒๕๔๓ ณ ห้อง ๔-๔๑๔ อาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

๑๐. วิทยากรในการเสวนาโต๊ะกลม “มิติทางสังคมวัฒนธรรมและจริยธรรมกับเทคโนโลยี.” ในการประชุมวิชาการ
สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ครั้งที่ ๑๑ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ หัวข้อ “ศาสตร์พระราชา:
ปัญญาของแผ่นดิน” วันอังคารที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ มหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม