คุณวุฒิ/Academic qualification
-ปริญญาตรี ภาควิชาภาษาจีน (เกียรตินิยมอันดับ1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
-ปริญญาโท สาขาสอนภาษาจีนสำหรับชาวต่างชติ คณะภาษาจีน มหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง
-กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
  มหาวิทยาลัยเกษตร ตั้งแต่ปี 2563 – 2566
-ปร.ด. (ภาษาตะวันออก) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (กำลังศึกษา)

B.A. (1st honour) (Chinese), Rangsit University
M.A (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages), Beijing Language and Culture
University, Beijing China
Ph.D. (Chinese Philolophy), Kasetsart University, Bangkok, Thailand


แขนงวิชาที่สนใจ
-ภาษาจีนเพื่อการสอน
-ภาษาและวัฒนธรรมจีนประยุกต์
-นิรุกติศาสตร์ภาษาจีน
-ภาษาจีนสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ

Areas of expertise
- Chinese Translation
- Chinese Applied
- classical chinese

หัวข้อวิทยานิพนธ์
- การศึกษาสถานการณ์การเรียนการสอนภาษาจีนระดับมหาวิทยาลัยของไทย กรณีศึกษาภาควิชาภาษาจีน
มหาวิทยาลัยรังสิต
- Thr Research of Present Sittuation of Chinese Teaching in Thailand Universities in the case
of The Department of Chinese in Rangsit University of Thailand


รายวิชาที่รับผิดชอบ
CHN 101 ภาษาจีนกลางในชีวิตประจำวัน 1
CHN 102 ภาษาจีนกลางในชีวิตประจำวัน 2
CHN 111 ภาษาจีนพื้นฐาน 1
CHN 115 ระบบเสียงภาษาจีน
CHN 354 ภาษาจีนสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ
CHN 452 ภาษาจีนสำหรับงานด้านการแพทย์
CHN 492 การเขียนสารนิพนธ์ (ศึกษาค้นคว้าอิสระ)
CHN 493 การเตรียมสหกิจศึกษา

ประวิติการทำงาน
-บริษัทซีพีออล์ จำกัดมหาชน ตำแหน่งพนักงานทั่วไป ปี 2551-2552
-โรงแรมแกรนด์โซ่เล่ย์ พัทยา ตำแหน่งพนักงานต้อนรับส่วนหน้า (ภาษาอังกฤษ) ปี 2553
-ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ล่ามภาษาจีน ปี 2556
-โรงแรมเดอะซีซั่น พัทยา ตำแหน่งพนักงานต้อนรับส่วนหน้า (ภาษาจีน) ปี 2557
-อาจารย์พิเศษภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เดือนสิงหาคม - ธันวาคม ปี 2558
-อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี 2559 – ปัจจุบัน

Work experience
Aug 2020- present          Deputy of Chinese Language Department, College of Liberal Arts,
                                    Rangsit University, Thailand
Aug 2016- Aug 2020       Chinese Language Department, Faculty of Liberal Arts, Rangsit
                                    University, Thailand, Lecturer


ผลงานทางวิชาการ

(1) กนกพร ลายสนิทกุล, นครเทพ ทิพยศุภราษฏร์ และพิสิษฐพัฒน์ ทองเปลว. (2562).
การวิเคราะห์การปรับบทแปลและกลวิธีการแปลของสันตสิริจากวรรณกรรมเรื่อง “ทาสประเพณี. ใน อารีรัตน์ แย้มเกสร (บ.ก.), งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ครั้งที่ 9
(น.916-927). สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต.

(2) Phisitthaphat Panyarew Thongpleaw and Witsathit Somrak. (2019). Improtance of
Chinese Language Skills in the Thai Tourism Industry. In Li Jing (Ed.), The 2nd
International Conference on Chinese Studies 2019. (pp.500-511). Confucius Institute,
Burapha University.

(3) ศตพร เด็จดวง, ทรงศักดิ์ ยี่ภู่และพิสิษฐพัฒน์ ปัญญาเร็ว ทองเปลว. (2564). ความสำคัญของ
นักท่องเที่ยวจีนต่อธุรกิจร้านค้าในเมืองพัทยา. ใน กานดา ว่องไวลิขิต (บ.ก.), New Normal after
COVID-19. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ครั้งที่ 11. (น.85-97). สถาบันวิจัย
มหาวิทยาลัยรังสิต.

(4) ณพวัฒน์ ยงยืน, ชุติกาญจน์ มนันธิรโชคและพิสิษฐพัฒน์ ปัญญาเร็ว ทองเปลว. (2564).
ผลกระทบและการปรับตัวของกิจการที่เน้นบริการนักท่องเที่ยวชาวจีนในเมืองพัทยาในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรค COVID-19. ใน เลิศชาย สถิตพนาวงศ์ (บ.ก.), การประชุมวิชาการระดับชาติ"
ราชภัฏกรุงเก่า ครั้งที่ 4 (ARUCON2021). (น. 252-257). สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครศรีอยุธยา.


(5) ชุติมา ภู่ทอง, ปารดา รัตนภิญโญภาส และพิสิษฐพัฒน์ ปัญญาเร็ว ทองเปลว. (2564). แนวโน้ม
นักท่องเที่ยวชาวจีนในประเทศไทย ในปี 2553-2563. ใน เลิศชาย สถิตพนาวงศ์ (บ.ก.),
การประชุมวิชาการระดับชาติ "ราชภัฏกรุงเก่า ครั้งที่ 4 (ARUCON2021). (น. 173-179).
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

(6) Natchaporn Dechrach, Phisittaphat Panyareaw Thongplew. (2021). Mission, Role and
Direction for Promoting Chinese Research of Confucius Institutes in Thailand.
The Tenth Chinese – Thai Strategic Research Seminar. Huaqiao University (HQU) China
Society for Southeast Asian Studies (TSSAS) National Research Council of Thailand

(NRCT) Thai - Chinese Culture and Economy Association (TCCEA). P.294-309.

(7) ณฐ บุญธนาธีรโชติ, พิสิษฐพัฒน์ ปัญญาเร็ว ทองเปลว, ชุติมา ภู่ทองและปารดา รัตนภิญโญภาส.
(2565). แนวคิดในการดำเนินธุรกิจของชาวไทยเชื้อสายจีน. ใน ธีราภรณ์ พลายเล็ก (บ.ก.), การประชุม
วิชาการระดับชาติ “การศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้” (น.1196-1207). คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.


Academic Publications
1. Boontiya Raksuan. (2021). A Study of Classical Chinese Textbooks : A case of Idiom
“ The Fight Between the Snipe and the Clam. Journal of Faculty of Chinese Language and
Culture Huachiew Chalermprakiet University , 9(2),149-167.

2. Boontiya Raksuan, Nuttha Bunthanatheerachot, Phisitthaphat Panyarew Thongpleaw, Kittipan Pongpengkat. (2021). A Study of Happiness of Student of Chinese Language
Department, Rangsit University. The 19th KU KPS National Conference. Kasetsart University
Kamphaeng Saen Campus.1833-1845.

3. Phisitthaphat Panyarew Thongpleaw, Nuttha Bunthanatheerachot, Chutima Phutong,
Parada Rattanapinyopast. (2022). A Study on Chinese Vocabulary Learning Strategies of
Students Majoring in Chinese at Rangsit University. Journal of Humanities & Social Sciences
Review. 24(1). 93-106.