1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยสุดา ม้าไว คณบดีวิทยาลัยศิลปศาสตร์
      ได้รับพระราชทานของที่ระลึกจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ
      ในฐานะเป็นผู้มีอุปการคุณและสนับสนุนกิจกรรมของสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสและได้รับรางวัล
      เกียรติยศจากองค์กรความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศสมาชิกผู้พูดภาษาฝรั่งเศส
      (AUF) ในฐานะผู้ขับเคลื่อนและส่งเสริมสนับสนุนภาษาฝรั่งเศส และโครงการความร่วมมือต่างๆ
       ของ AUF ประเทศไทยเนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปี องค์กร AUF เอเชียแปซิฟิก


2. ดร. อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาฝรั่งเศส
     จำแนกเป็นวารสารระดับชาติ TCI กลุ่ม 1 (0.8) จำนวน 1 เรื่อง และการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
     ระดับนานาชาติ (0.4) จำนวน 3 เรื่อง

3. อาจารย์ฐนวิชณ์ ไกรเพิ่ม รักษาการหัวหน้าภาควิชาภาษาฝรั่งเศส
      ได้รับพระราชทานของที่ระลึกจากพระหัตถ์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
       รัตนราชสุดา ฯ ในฐานะเป็นผู้อุปการะคุณและสนับสนุนกิจกรรมของสมาคมครูภาษาฝรั่งเศส
       และมีผลงานการแปลหนังสือ "สุวรรณภูมิ แผ่นดินทอง" ฉบับภาษาฝรั่งเศส       
       โครงการเผยแพร่และส่งเสริมองค์ความรู้งานวิจัยว่าด้วยสุวรรณภูมิ


4. อาจารย์ ดร.อภินันท์ วงศ์กิตติพร อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ
     มีผลงานเผยแพร่จำนวนมากถึง 19 รายการ จำแนกเป็นวารสารวิชาการระดับนานาชาติ  
     (Internationally Indexed in ERIC) (1.0) จำนวน 2 เรื่อง วารสารระดับชาติ TCI กลุ่ม 1 (0.8)
      จำนวน 4 เรื่อง และในวารสาร TCI กลุ่ม 2 (0.6) จำนวน 10 เรื่อง และการนำเสนอ
      ในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (0.4) จำนวน 3 เรื่อง

4. ศาสตราจารย์ ดร.ฌ็องส์ ฮวัน ซึง หัวหน้าภาควิชาภาษาเกาหลี
     มีผลงานวิชาการ หนังสือ 1 เล่ม ได้แก่ “ฌองส์ ฮฺวันซึง. (2023) ประเทศไทยนอกกำแพง.
     สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก: สาธารณรัฐเกาหลี”

1. ดร.รพีพรรณ เพชรอนันต์กุล อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
      1) ได้รับรางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่นจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเนื่องในวันภาษาไทยเเห่งชาติ ปี พ.ศ. 2565
      2) บรรณาธิการ หนังสือรวมบทร้อยกรอง “รัตนกานท์” ของ วิไลรัตน์ ปัญญาสงค์ จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์
          มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับรางวัลชมเชย ประเภทหนังสือสำหรับเด็กวัยรุ่น อายุ ๑๒ - ๑๘ ปี (บทร้อยกรอง)
          จากการประกวดหนังสือดีเด่น ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
          ประจำปี พ.ศ. 2566
      3) บรรณาธิการ หนังสือรวมบทร้อยกรอง “วิมานแมน” ของ แมน คล้ายสุวรรณ จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์
          มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับรางวัลชมเชย ประเภทหนังสือสำหรับเด็กวัยรุ่น อายุ ๑๒ - ๑๘ ปี (บทร้อยกรอง)
          จากการประกวดหนังสือดีเด่น ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
          ประจำปี พ.ศ. 2566

2. อาจารย์ฐนวิชณ์ ไกรเพิ่ม รักษาการหัวหน้าภาควิชาภาษาฝรั่งเศส
      1) ผลิตผลงานวิชาการในลักษณะการบูรณาการองค์ความรู้ข้ามศาสตร์ เรื่อง “ประวัติศาสตร์จีนปลาย
           ราชวงศ์ชิงจากภาพข่าวในหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส Chinese History during the Late Qing Dynasty
            though News Illustrations in French Newspapers” ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
            มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 กรกฏาคม-ธันวาคม 2565 TCI กลุ่มที่ 2 (0.6) ผลงานวิชาการ
            บูรณาการ ข้ามศาสตร์นี้เป็นผลงานร่วมกับ ผศ. กำพล ปิยศิริกุล อาจารย์ประจำสาขาวิชาจีนศึกษา
            วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงศ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
           กำพล ปิยะศิริกุล, ฐนวิชณ์ ไกรเพิ่ม. (2565). ประวัติศาสตร์จีนปลายราชวงศ์ชิงจากภาพข่าวใน
           หนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต 18(1), 26-50.
       2) มีผลงานการเผยแพร่ในวารสารวิชาการฐาน 1 (TCI 1) 1 เรื่องThanawit, K. (2023) Stage
            professionnel des étudiants de français : défis et attentes. Le cas du département de
            français de l’université Rangsit, Thaïlande. Bulltin de l’APTF, 46(1), 70-85.

3. อาจารย์ ดร.อภินันท์ วงศ์กิตติพร อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ
     มีผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติจำนวนมาก 11 รายการ ผลงานตีพิมพ์วารสารระดับชาติ TCI กลุ่ม 1
     (0.8) จำนวน 3 เรื่องและในวารสาร TCI กลุ่ม 2 (0.6) จำนวน 5 เรื่อง และการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
      ระดับนานาชาติ 2 เรื่อง (0.4)
       1) Wongkittiporn, A. (2023). Pragmatic Perspectives of the Raised DP in Raising and Passive Constructions
            in Applied Linguistics Articles. Liberal Arts Review, 18(1) (January-June 2023), 40-64.
       2) Wongkittiporn, A. (2022). Syntactic Interpretation of Noun Phrases Used with the
           Relativizers which and that in English Novels. Journal od Liberal Arts, Ubon Ratchathani University, 18(2)
           (July-December 2022), 181-204.
       3) Wongkittiporn, A. (2022). Pragmatic Aspects and Semantic Denotations of Exceptional
           Case Marking Constructions in English Novels, English applied Linguistics Articles and English Magazines.
            Liberal Arts Review, 17(2) (July-December 2022), 32-58.
       4) Wongkittiporn, A. (2023). Pragmatic Aspects of Temporal Adverbial Clauses in English Novels. Journal of
             MCU Humanities Review, 9(1) (January-June 2023), 329-342.
       5) Wongkittiporn, A. (2023). Classifications of Semantic Denotations of Adverbial Clauses: Perspectives from
            Novels in English. Journal of Humanities and Social Sciences Valaya Alongkorn, 18(1)
            (January-June 2023), 89-104.
       6 ) Wongkittiporn, A. (2023). Syntactic Interpretations of Noun Phrases with Restrictive Relativizers which
             and that in English Cookbooks. Journal of Man and Society, 8(2) (January-June 2023), 151-172.
       7) Wongkittiporn, A. (2022). Syntactic Structures and Semantic Denotation of Gerunds in Biographical
            Texts. Phranakhon Rajabhat Research Journal: Humanities and Social Sciences, 17(2)
            (July-December 2022), 250-268
       8) Wongkittiporn, A. (2022). Semantic interpretations of passive constructions in business news articles.
            Journal of Language, Religion and Culture, 11(2) (July-December 2022), 1-29.
      9 ) Wongkittiporn, A. (2023). Semantic Interpretations of Epistemic Modality Markers in Antibiotic Drugs
            Labels. Proceedings of the 8th RSU International Research Conference 2023, Rangsit University
            (28 April 2023), 96-105.
      10 ) Ganmanee, P., Wongkittiporn, A., and Laddawan, C. (2023). Illocutionary Act in Tourism Slogans,
             Proceedings of the 8th RSU International Research Conference 2023, Rangsit University
             (28 April 2023). 106-114.

4. อาจารย์ ดร.ณัฐฌาภรณ์ เดชราช หัวหน้าภาควิชาภาษาจีน
       1) มีการเผยแพร่ผลงานด้านภาษา วัฒนธรรม และการสอนภาษาจีน ที่หลากหลายทั้งในรูปแบบบทความในวารสาร
           วิชาการระดับชาติ TCI กลุ่ม 2 การบริการวิชาการผ่านสื่อออนไลน์ Youtube รายการ “ จีนเก็บบุปผา ครั้งที่ 10”
:          พันธกิจและบทบาทด้านการวิจัยการเรียนการสอนภาษาจีน ของสถาบันขงจื่อในประเทศไทย
           Dechrach, N., Yongyuen, N. (2023). Analysis of Chinese-into-Thai translation defects of Su Mu Zhe
            songs through the Sino-Thai cross-cultural communication approach. Journal of Sinology, 17(1)
           (January-June 2023), 34-55.
           ณัฐฌาภรณ์ เดชราช, ยุพรรณษา ศรีโกเมนทร์, ธนัชชา พิพัฒน์พัลลภ. (2565). การสำรวจความต้องการศึกษาต่อ
           หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาจีน  วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. วารสารคุรุศึกษา
            มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 4(2) (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565), 19-36.
        2) ได้รับอนุมัติทุนวิจัยจากสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตเพื่อดำเนินการวิจัยปีการศึกษา 2565 เรื่อง“การวิเคราะห์
            อัตลักษณ์วัจนปฏิบัติภาษาจีนที่ปรากฏในซีรี่ส์แปลรักฉันด้วยใจเธอ ผ่านมุมมองการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมจีน-ไทย”
            (3 เม.ย.2566 – 3 มี.ค.2567)


1. ดร.รพีพรรณ เพชรอนันต์กุล อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
     ได้รับพระราชทานรางวัลจากการประกวดหนังสือดีเด่นของสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
      กระทรวงศึกษาธิการและมีผลงานวิจัยเผยแพร่ในรูปแบบบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ

2. อาจารย์ฐนวิชณ์ ไกรเพิ่ม หัวหน้าภาควิชาภาษาฝรั่งเศส
     ได้รับรางวัล ครูภาษาฝรั่งเศสดีเด่น จากคุรุสภาและสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ
     มีผลงานวิชาการในรูปแบบหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
     และมีผลงานวิชาการที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่จัดขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนกวรรณ บุญเดช หัวหน้าภาควิชาภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี
        ได้รับอนุมัติตำแหน่งวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ โดยกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต

4. ดร. อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาฝรั่งเศส
        มีผลงานวิชาการประเภทหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
        และมีผลงานวิชาการที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

5. ดร.อภินันท์ วงศ์กิตติพร อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ
       มีผลงานวิจัยที่เผยแพร่ในรูปแบบบทความเป็นจำนวนมากทั้งที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ
       และการนำเสนอในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ


1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อดิศักดิ์ นุชมี อาจารย์ประจำภาควิชาอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ
     ได้รับอนุมัติตำแหน่งวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ โดยกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีรยา มหากิตติคุณ อาจารย์ประจำภาควิชามนุษยศาสตร์
      ได้รับอนุมัติตำแหน่งวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ โดยกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต

3. ดร. รพีพรรณ เพชรอนันต์กุล อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
     ได้พัฒนาผลงานวิชาการจำนวนมากทั้งงานวิจัย การเผยแพร่ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ในรูปบทกวี
     รวมถึงหนังสือรวมบทกวีประเภทต่างๆ และพจนานุกรมอีกหลายเล่ม


1. ดร.นวรัตน์ ก๋งเม่ง อาจารย์ประจำภาควิชามนุษยศาสตร์
     ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกจากวิทยาลัยนวัตกรรมสังคมและการเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต

2. ดร.วรเทพ ว่องสรรพการ อาจารย์ประจำภาควิชามนุษยศาสตร์
     ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกจากวิทยาลัยนวัตกรรมสังคมและการเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัชดา ลาภใหญ่ อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
     ได้รับอนุมัติตำแหน่งวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ โดยกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต


1. ดร.อดิศักดิ์ นุชมี อาจารย์ประจำภาควิชาอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ
     ได้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ผ่านสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ของมหาวิทยาลัย

2. อาจารย์พีรยา มหากิตติคุณ อาจารย์ประจำภาควิชามนุษยศาสตร์
     ได้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ผ่านสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ของมหาวิทยาลัย

3. อาจารย์วรเทพ ว่องสรรพการ อาจารย์ประจำภาควิชามนุษยศาสตร์
     ได้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ผ่านสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ของมหาวิทยาลัย

4. อาจารย์สายใจ ทองเนียม อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
    ได้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ผ่านสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ของมหาวิทยาลัย

5. อาจารย์วรพล มหาแก้ว อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ
     ส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาตรีได้เผยแพร่บทความวิจัยร่วมกับอาจารย์ในงานประชุมวิชาการ และดำเนินโครงการวิจัย
     สถาบันเสร็จสิ้น ส่งเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ให้กับ สำนักงานวางแผน มหาวิทยาลัยรังสิต


1. อาจารย์วรเทพ ว่องสรรพการ (ภาควิชามนุษยศาสตร์)
   
ได้รับทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2. Dr. Rebecca Webb อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ
   
ได้รับการประเมินผลงานประกอบการขอตําแหน่งวิชาการโดยผู้ทรง คุณวุฒิคนแรกในระดับดีมาก

3. ดร.นครเทพ ที่พยศุภราษฎร์ ผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาโทภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพ
  
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนางสาว ปัญชลี ตรีตราเพชร นักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพ
  
ที่ได้รับรางวัล วิทยานิพนธ์ดีเด่นประจําปี โดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต



1. ดร.นครเทพ ทิพยศุภราษฎร์ ผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาโทภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพ
  
 มีบทความวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ร่วมกับนักศึกษาในหลักสูตรรวมทั้งสิ้น 17 บทความ

2. ดร.รัชดา ลาภใหญ่ อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
   
ได้รับการประเมินผลงานประกอบการขอตำแหน่งวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิคนแรก
   และได้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ผ่านสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ของมหาวิทยาลัย

3. ดร.รพีพรรณ เพชรอนันต์กุล อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
   
ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง “วิเคราะห์บทร้อยกรองที่ได้รับรางวัลการประกวดกลอนสดของมหาวิทยาลัยรังสิต”    
   
จากสถาบันสุนทรภู่